วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550
ภาพที่ถูกสร้างขึ้นในจิตใจ(จินตนาการ)
แบบที่ ๑ เป็นภาพเพ้อฝัน อาจจะจริง หรือไม่จริงก็ได้ แต่ส่วนมากมักจะไม่จริง เช่น วาดภาพว่า มีมนุษย์ที่เหาะได้จริง ๆ อย่างซุปเปอร์แมน ซึ่งมีคำตอบว่า ภาพอย่างนี้ ไม่มีทางเป็นไปได้ แต่ด้วยความเพ้อฝันว่ามนุษย์จะบินได้นั่นเอง ได้นำมาซึ่งการประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ช่วยให้มนุษย์ขึ้นไปลอยอยู่ในอากาศ เหมือนบินได้จริง ๆ ภาพแบบที่ ๑ นี้ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Imaginary ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า จินตนาการ อยู่แล้ว
แบบที่ ๒ เป็นภาพที่ถูกสร้างขึ้นโดยการมองไปข้างหน้า หรือในอนาคตว่า จะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง อาจจะนึกขึ้นมาลอย ๆ หรือนำเหตุผลประกอบใด ๆ มาเป็นมูลฐานของการสร้างภาพก็ได้ เช่นผู้บริหารบ้านเมือง จะมองไปข้างหน้าเห็นความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศโดยถ้วนหน้ากัน ซึ่งเป็นความปรารถนาที่เป็นพื้นฐานของการกำหนดนโยบายของการบริหารประเทศ อย่างหนึ่ง ภาพที่มองเห็นในอนาคตนั้น อาจจะเป็นจริง หรือไม่เป็นจริงก็ได้ เวลาจะนำคำตอบมาให้ ภาพแบบนี้ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Vision ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า วิสัยทัศน์
แบบที่ ๓ เป็นภาพที่ถูกวาดตามหลักของความเป็นจริง เกิดขึ้นจริงอย่างแน่นอน ถ้าได้มีการปฏิบัติที่เป็นไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เช่นการชิปลูกกอล์ฟขึ้นกรีนให้ใกล้ธงมากที่สุด ย่อมเกิดขึ้นได้ถ้านักกอล์ฟทำได้ตามแบบฝึก แต่โดยที่ผู้เขียนมีประสบการณ์ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จึงขอกล่าวถึงภาพที่นักโปรแกรมจะต้องวาดภาพขึ้นในจิตใจให้ได้ว่า จะทำอย่างไร หรือจะใช้คำสั่งอะไรบ้างของโปรแกรมมาใช้ คอมพิวเตอร์ จึงจะทำงานให้ได้อย่างที่ต้องการ ภาพแบบนี้มีผลลัพธ์แน่นอน หากปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบของวิธีการเขียนโปรแกรม ภาพแบบนี้ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Logic ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า ตรรกะ
แบบที่ ๒ เป็นภาพที่ถูกสร้างขึ้นโดยการมองไปข้างหน้า หรือในอนาคตว่า จะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง อาจจะนึกขึ้นมาลอย ๆ หรือนำเหตุผลประกอบใด ๆ มาเป็นมูลฐานของการสร้างภาพก็ได้ เช่นผู้บริหารบ้านเมือง จะมองไปข้างหน้าเห็นความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศโดยถ้วนหน้ากัน ซึ่งเป็นความปรารถนาที่เป็นพื้นฐานของการกำหนดนโยบายของการบริหารประเทศ อย่างหนึ่ง ภาพที่มองเห็นในอนาคตนั้น อาจจะเป็นจริง หรือไม่เป็นจริงก็ได้ เวลาจะนำคำตอบมาให้ ภาพแบบนี้ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Vision ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า วิสัยทัศน์
แบบที่ ๓ เป็นภาพที่ถูกวาดตามหลักของความเป็นจริง เกิดขึ้นจริงอย่างแน่นอน ถ้าได้มีการปฏิบัติที่เป็นไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เช่นการชิปลูกกอล์ฟขึ้นกรีนให้ใกล้ธงมากที่สุด ย่อมเกิดขึ้นได้ถ้านักกอล์ฟทำได้ตามแบบฝึก แต่โดยที่ผู้เขียนมีประสบการณ์ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จึงขอกล่าวถึงภาพที่นักโปรแกรมจะต้องวาดภาพขึ้นในจิตใจให้ได้ว่า จะทำอย่างไร หรือจะใช้คำสั่งอะไรบ้างของโปรแกรมมาใช้ คอมพิวเตอร์ จึงจะทำงานให้ได้อย่างที่ต้องการ ภาพแบบนี้มีผลลัพธ์แน่นอน หากปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบของวิธีการเขียนโปรแกรม ภาพแบบนี้ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Logic ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า ตรรกะ
ความคิดสร้างสรรค์กับคนไทย
เราต้องตระหนักว่า เราในฐานะคนไทยคนหนึ่ง อยู่ในบริบทที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เราจำเป็นต้องท้าทายตัวเองให้มากว่า “เราจะต้องเป็นนักคิดสร้างสรรค์ให้ได้” เราควรสร้าง “สำนึก” หรือเปลี่ยนลักษณะนิสัยการคิดของเราใหม่ ให้ติดตัวเราไปตลอดซึ่งจะช่วยให้เราอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างมั่นคง
รูปธรรม สู่ นามธรรม
การ ขยายของเขตปัญหาจาก รูปธรรม สู่ นามธรรม แล้วค่อยคิด
ทางออกที่นักคิดสร้างสรรค์ส่วนใหญ่ทำนั่นคือ พยายามถอดกรอบโครงสร้างความคิดที่จำกัด ไปสู่จินตนาการนอกขอบเขตของเรื่องนั้นอย่างอิสระ เพื่อจะได้ความคิดใหม่ๆด้วยวิธีการ คือ ไม่คิดในเรื่องที่กำลังคิดอยู่ แต่คิดในความเป็นนามธรรมของเรื่องนั้นที่มีอยู่ในสิ่งทั้งปวง เช่น ถ้าต้องการออกแบบรถยนต์ แนะนำว่าอย่างคิดถึงรถยนต์ อย่างน้อยในช่วงเริ่มต้น แต่พยายามสร้างสรรค์องค์ประกอบเชิงนามธรรม นั่นคือ คิดถึงสิ่งเคลื่อนไหวต่างๆ และใช้องค์ประกอบเหล่านั้นในการกระตุ้นให้เกิดการออกแบบใหม่ๆ ซึ่งจากหลักฐานจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า นิยามที่เป็นนามธรรมของปัญหาสามารถนำไปสู่การสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ๆได้มากกว่านิยามที่เฉพาะสิ่งนั้น ( Michalko,2000)
ทางออกที่นักคิดสร้างสรรค์ส่วนใหญ่ทำนั่นคือ พยายามถอดกรอบโครงสร้างความคิดที่จำกัด ไปสู่จินตนาการนอกขอบเขตของเรื่องนั้นอย่างอิสระ เพื่อจะได้ความคิดใหม่ๆด้วยวิธีการ คือ ไม่คิดในเรื่องที่กำลังคิดอยู่ แต่คิดในความเป็นนามธรรมของเรื่องนั้นที่มีอยู่ในสิ่งทั้งปวง เช่น ถ้าต้องการออกแบบรถยนต์ แนะนำว่าอย่างคิดถึงรถยนต์ อย่างน้อยในช่วงเริ่มต้น แต่พยายามสร้างสรรค์องค์ประกอบเชิงนามธรรม นั่นคือ คิดถึงสิ่งเคลื่อนไหวต่างๆ และใช้องค์ประกอบเหล่านั้นในการกระตุ้นให้เกิดการออกแบบใหม่ๆ ซึ่งจากหลักฐานจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า นิยามที่เป็นนามธรรมของปัญหาสามารถนำไปสู่การสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ๆได้มากกว่านิยามที่เฉพาะสิ่งนั้น ( Michalko,2000)
วันอาทิตย์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2550
Sequence ของหนังเรือง Lock Stock
Sequence ของหนังเรือง Lock Stock & Two Smoking BarrEls
หนังเรื่องนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับคนสี่คนที่เป็นเพื่อนกันเกิดไปแพ้การพนันที่คิดว่าไม่มีทางแพ้ จนเป็นสาเหตุทำให้พวกเข้าต้องพัวพันกับ แก็งมาเฟียร์ พวกเค้าต้องหาเงินครึ่งล้านภาพในหนึ่งอาทิต เพื่อเอาชีวิตรอกในการตามล่าครั้งนี้เพื่อเค้าจึงหาแผนการแก้ปัญหาอย่างที่คุณจะคิดไม่ถึง
Sequence ของเรื่องนี้ในความคิด คือ เงิน เพราะ เงินเป็นเหตุนำพาทุกอย่าที่ทำให้เรื่องนี้เดินต่อไปได้ตั้งแต่เริ่มจนจบ ถ้าเรื่องนี้ขาดตัวเงินไปก็คงไม่เกิด Sequence
องค์ประกอบย่อยของ Sequence ในเรื่อง
1. คนสี่คน
2. การพนัน
3. แก็งเจ้าพ่อ
4. มือปืนรับจ้าง
5. เด็กวัยรุ่นปลูกกัญชาขาย
6. พ่อค้าขายของเถื่อน
Sequence ในชิวิตประจำวัน
ตอนกลางคืนของวันหนึ่ง เดินไปกลางซอยหอพักข้างๆ มหาลัย ไปซื้อกาแฟกินระหว่าการรอนั้น
ก็ได้เห็นลุงคนขายกาแฟ ชงกาแฟให้คนอืนๆที่มาต่อแถว ก็ได้ค้นพบว่าการชงกาแฟก็เป็น
Sequence อย่างหนึ่งโดยมีสมองจักลำดับไว้อย่างดีว่า ต้องใส่ กาแฟ แล้วก็ น้ำตาล
ตามด้วยนม แล้วลงท้ายด้วนน้ำร้อน จากการกระทำนี้ อาจสรุปได้เลยว่า การชงกาแฟก็ตก
อยู่มนระบบของ Sequence
ก็ได้เห็นลุงคนขายกาแฟ ชงกาแฟให้คนอืนๆที่มาต่อแถว ก็ได้ค้นพบว่าการชงกาแฟก็เป็น
Sequence อย่างหนึ่งโดยมีสมองจักลำดับไว้อย่างดีว่า ต้องใส่ กาแฟ แล้วก็ น้ำตาล
ตามด้วยนม แล้วลงท้ายด้วนน้ำร้อน จากการกระทำนี้ อาจสรุปได้เลยว่า การชงกาแฟก็ตก
อยู่มนระบบของ Sequence
My Sequence
Sequence ถ้าให้ความหมายตามคำศัพท์ก็คงแปลว่า ลำดับ แต่ถ้ามองในแง่ของการใช้ชีวิตหรือเรื่องราวต่างๆบนโลกล้วนแล้วแต่มีความเป็น Sequence เข้าไปเกี่ยวข้องด้วยอยู่เสมอ เช่น การหมุนของโลก การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนสิ่งต่างๆที่อยู่ในชีวิตประจำวันของเราหลายๆอย่างก็ตกอยู่ในระบบของ Sequence
Concept ของ Sequence ในความเข้าใจคือ หน่วยที่ถูกนำพาอย่างมีเหตุผล
องค์ประกอบของ Sequence ประกอบด้วย
หน่วยที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
เหตุผลนำพา
Concept ของ Sequence ในความเข้าใจคือ หน่วยที่ถูกนำพาอย่างมีเหตุผล
องค์ประกอบของ Sequence ประกอบด้วย
หน่วยที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
เหตุผลนำพา
สรุปความคิดของเพื่อนๆใน Class ครั่งที่ 1
1. การแบ่งประเภทของ Sequence มีสองประเภท คือ สิ้นสุด กับไม่สิ้นสุด
2. ความแตกต่างของ Sequence and Series
- Sequence หน่วยย่อยมีความสมบูรณ์ในตัวมันเอง
- Series หน่วยย่อยไม่มีความ สมบูรณ์ในตัวมันเอง
3. ในเชิง คณิตศาสตร์ แปลว่า พจน์ของโดเมน
4. ความแตกต่างระหว่าง Sequence กับ Random
- Sequence มีเหตุผลในการกระทำของมัน
- Random ไม่มีเหตุผลในการกระทำของมัน
5. ในบางครั้งหน่วยย่อยของ Sequence อาจต้องพึ่งพาการ Random
เช่น การสุ่มตัวเลขของสลากกินแบ่งเป็นต้น
2. ความแตกต่างของ Sequence and Series
- Sequence หน่วยย่อยมีความสมบูรณ์ในตัวมันเอง
- Series หน่วยย่อยไม่มีความ สมบูรณ์ในตัวมันเอง
3. ในเชิง คณิตศาสตร์ แปลว่า พจน์ของโดเมน
4. ความแตกต่างระหว่าง Sequence กับ Random
- Sequence มีเหตุผลในการกระทำของมัน
- Random ไม่มีเหตุผลในการกระทำของมัน
5. ในบางครั้งหน่วยย่อยของ Sequence อาจต้องพึ่งพาการ Random
เช่น การสุ่มตัวเลขของสลากกินแบ่งเป็นต้น
วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2550
ความหมาย ของคำว่า Concept
ในทางปรัชญา concept คือ ภาพที่เกิดขึ้นในใจซึ่งเป็นตัวแทนของสิ่งหลายสิ่งที่ต่างกันแต่มีลักษณะบางอย่างคล้านกันอยู่ Concept ในภาษาไทยเรียกว่า มโนทัศน์ หมายถึง การคิดถึงหรือจิตนาการบางสิ่ง การเกิดแนวความคิด หรืด เกิดความเข้าใจต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งในความคิดของเรา
ขอคิดจากหนัง
วันนี้บังเอินเปิดไปเจอหนังเรื่องหนึง เป็นหนัง 3D Animation เรื่อง AntZ เป็นหนังเรื่องราวที่เล่าถึงชีวิต ของมดตัวหนึ่งที่มีความคิดเป็นของตัวเอง และไม่ อยากจะรับรู้เรื่องกฎต่างๆในรัง เนื้อเรื่องดำเนินไปจนถึงฉากๆหนึ่งซึ้งเป็นตอนที่ มดทหารไปสู้กับพวกปลวก และตายจนหมด เหลือเพียงแค่ตัวเอกของเรื่อง และ มีทหารตัวหนึ่งที่เหลือเพียงแค่หัวกองอยู่บนพื้นได้พูดคุยกับตัวเอกที่ชื่อ Z ว่า "Z เจ้าจงอย่างมีชีวิตเหมือนกับข้า จงใช้ชีวิด้วยความดิดตัวเอง อย่าไปอยู่กับ กฏต่างๆที่เจ้าไม่มีความสุขกับมัน" พอได้ฟังแล้วก็รู้สึกว่าถูกอย่างที่มดทหารตัว นั้นพูดจริงๆ ถ้าใช้ชีวิตไปกับกฏต่างๆที่คนอื่นสร้างขึ้น จนตัวตายแล้วชีวิตที่มีค่าของ
เราจะมีความหมายได้อย่างไร
เราจะมีความหมายได้อย่างไร
สรุปความเข้าใจ Class 1
Concept คือ มวลความคิดที่ และสามารถจับต้องได้ผ่านความคิดของตัวเรา แต่การที่เราจะสามารถเห็นภาพความคิดนั้น เราสามารถทำได้โดยการนำ Idea ไปจับเพื่อให้เกินภาพ แล้วเราจะได้ Concept ที่สมารถต่อยอดความคิดให้เกิน Idea ต่างๆ ถ้าเกินเรามีความเข้าใจเกี่ยวกับ Concept ของสิ่งใดที่ดีแล้ว Concept นั้นจะสามารถ คงสภาพอยู่ ได้นาน และอาจทำให้เกิด Inovation ตามมาอีกด้วย ทุกอย่างบนโลกนั้นล้วนมี Concept อยูทั้งสิ้นแทบพูดได้ว่า ไม่มี Concept ใดที่ไม่เคยมีอยู่บนโลก แต่เราสามารถสร้าง Concept ใหม่ได้นั้นขึ้นอยู่กับว่าตัวเราจะมีวิธีในการจับ ประเด็น Concept ต่างๆที่อยู่รอบตัวนั้นได้อย่างไรมากกว่า
-บทความนี้เป็นความเข้าใจส่วนบุคค-
-บทความนี้เป็นความเข้าใจส่วนบุคค-
วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2550
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)